คำแนะนำสำหรับผู้เขียน
– ประเภทบทความที่รับตีพิมพ์
– คำแนะนำการพิมพ์ต้นฉบับ
– แบบฟอร์มบทความของวารสาร
หลักเกณฑ์การอ้างอิงของวารสาร
หลักเกณฑ์การอ้างอิง
ด้วยระบบ Chicago เวอร์ชั่นที่ 17
(ภาษาไทย)
จริยธรรมการตีพิมพ์
– จริยธรรมของผู้นิพนธ์
– จริยธรรมของบรรณาธิการ
– จริยธรรมของผู้ประเมินบทความ
เปิดรับบทความตลอดทั้งปี
ทางระบบออนไลน์ www.tci-thaijo.org
บทความต้องมีเนื้อหาด้านพระพุทธศาสนาเชิงคัมภีร์ และพุทธปรัชญา
เปิดรับบทความประเภท (1) บทความวิจัย (2) บทความวิชาการ (3) บทความแปลจากภาษาต่างประเทศและ (4) บทความพิเศษของบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิ (ไม่ต้องรับการประเมิน)
* บทความจากผู้เขียนจะได้รับการตรวจและประเมินแบบ Double Blinded
วารสารธรรมธารา วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา
ส่งเสริม สนับสนุน
และเป็นแหล่งข้อมูล
ในการเผยแพร่งานวิจัยและบทความวิชาการ
ทางพระพุทธศาสนา
เป็นแหล่งข้อมูลทางพระพุทธศาสนาที่มีความหลากหลายทั้งเนื้อหา
ทางวิชาการโดยตรง การศึกษาด้านคัมภีร์เชิงลึกการเปรียบเทียบ
คัมภีร์พุทธศาสตร์ที่มีอยู่ในภาษาบาลี สันสกฤต จีน และทิเบต
บทบรรณาธิการวารสารธรรมธารา
พระครูปลัดสุวัฒนโพธิคุณ (สมชาย ฐานวุฑฺโฒ), พ.บ., ดร.
การวิจัยพระพุทธศาสนาระดับสูง
1. การศึกษาวิจัยเชิงคัมภีร์ (Documentary Research) เป็นการศึกษาค้นคว้าโดยอาศัยแหล่งข้อมูลสำคัญคือ คัมภีร์พระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกาปกรณ์วิเสส รวมถึงคัมภีร์พระพุทธศาสนาของนิกายอื่น ๆ และบันทึกประวัติศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2. การศึกษาวิจัยภาคสนาม (Field Research) เป็นการศึกษาวิจัยเชิงสังคมวิทยาโดยศึกษาความสัมพันธ์ของคำสอน หลักปฏิบัติต่าง ๆ กับการเปลี่ยนแปลงทางทัศนคติ พฤติกรรมของบุคคลหรือสังคมที่เกี่ยวข้อง มีการออกแบบสอบถามสัมภาษณ์บุคคลที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย นำผลมาวิเคราะห์ในทางสถิติ

Latest News
รายชื่อวารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ในฐานข้อมูลของศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)
รายชื่อวารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ในฐานข้อมูลของศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)
Read moreอักษรย่อคัมภีร์พระพุทธศาสนาต่างๆ
อักษรย่อคัมภีร์พระพุทธศาสนาต่างๆ เทียบตัวโรมัน และไทย ยึดตามพจนานุกรม Critical Pali Dictionary เป็นหลัก
Read more